
BLOG


ใบปจ.ทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สำหรับรถปั้นจั่น
ใบปจ.ทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สำหรับรถปั้นจั่น

บ้านทรุด จะรื้อทิ้งสร้างใหม่ หรือซ่อมเสริมเสาเข็มและฐานรากดีกว่า ?
บ้านทรุด จะรื้อทิ้งสร้างใหม่ หรือซ่อมเสริมเสาเข็มและฐานรากดีกว่า ? เป็นคำถามที่ดีและเป็นคำถามยอดฮิตของท่านเจ้าของบ้านที่มีปัญหาบ้านทรุด เอียง เนื่องจากมีความรู้สึกว่า ถ้าซ่อมแซมฐานรากแล้วแพง ไม่คุ้มค่า จึงต้องพิจารณากันอย่างจริงจังว่าแพงและไม่คุ้มค่าจริงหรือเปล่า ก่อนที่จะตอบ จำเป็นต้องมองภาพรวมของทางเลือกแต่ละทางกันก่อน และแยกแยะค่าใช้จ่ายในแต่ละกรณี จึงจะได้บทสรุป ว่าคุ้มหรือไม่คุ้ม ซึ่งจะเป็นคำตอบสุดท้ายว่าจะตัดสินใจอย่างไร อาคารที่พักอาศัยสำหรับบางท่านอาจมองเป็นแค่แท่งอิฐ แท่งคอนกรีต แต่สำหร

ทำไมต้องเลือกเสาเข็ม คสล.หล่อสำเร็จแบบแรงเหวี่ยงมีหน้าเพลท (Spun Micropile) มอก.397-2524 สยามเอ็นจิเนีย ฟอรั่ม
ทำไมต้องเลือกเสาเข็ม คสล.หล่อสำเร็จแบบแรงเหวี่ยงมีหน้าเพลท (Spun Micropile) มอก.397-2524 สยามเอ็นจิเนีย ฟอรั่ม – ใช้ปั้นจั่นขนาดเล็กในการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ – บริษัทสยาม เอ็นจิเนีย ฟอรั่ม จำกัด ทีมงานคุณภาพ และเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านงานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มากว่า 20 ปี รับรองว่าลูกค้าที่มาใช้บริการกับเราไม่ผิดหวังแน่นอนเพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของเรา เป็นเจ้าเดียวในท้องตลาดที่ผลิตเหมือนกับเสาเข็มสปันขนาดใหญ่ ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ไม่ว่าจะเป็น – การผลิตด้วยแรงเหวี

ต่อเติมในที่แคบอย่างไรไม่ให้ทรุด
ต่อเติมในที่แคบอย่างไรไม่ให้ทรุด ปัจจุบัน มีเจ้าของบ้านหลายรายที่ต้องการต่อเติมบ้าน ในพื้นที่ทำงานที่ค่อนข้างคับแคบไม่สามารถนำเสาเข็มขนาดยาวๆเข้ามาทำงานในพื้นที่ได้ จึงทำให้เกิดปัญหาตามมาคือ ผู้รับเหมาหรือเจ้าของบ้านที่ไม่มีความรู้ทางด้านวิศวกรรม ใช้เสาเข็มสั้น ในการต่อเติมด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือต้องการประหยัดงบประมาณ ปลายเสาเข็มอยู่แค่ชั้นดินอ่อน ไม่ถึงชั้นดินดาน เป็นเหตุให้เกิดการทรุดตัวของส่วนต่อเติมตามมา ทางเลือกหนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยม ของการต่อเติมในพื้นที่แคบคือ การใช้เสาเข็มสปันไม

ตอกเสาเข็มสปัน MICROPILE พื้นที่ที่มีความสูงจำกัด
ตอกเสาเข็มสปัน MICROPILE พื้นที่ที่มีความสูงจำกัด โรงเรียนนานาชาตินอริช (Norwich International School Bangkok) เสาเข็มสปัน Micropile แบบมีหัวต่อหน้าเพลท ขนาด 200 mm. ใช้เครื่องจักรที่มีความสูง 3.2 เมตร ยาว 3.5 เมตร หน้ากว้าง 1.2 เมตร เสาเข็มสปัน Micropile แบบมีหัวต่อหน้าเพลท ขนาด 240 mm. ใช้เครื่องจักรที่มีความสูง 3.7 เมตร ยาว 4 เมตร หน้ากว้าง 2 เมตร วิธีการสังเกตุเสาเข็มสปันไมโครไพล์แบบมีหัวต่อ ขอดูรายละเอียดผลิตภัณฑ์แนบท้ายใบมอก. จากผู้ผลิต ต้องระบุว่า เป็นเสาเข็มสปันไมโครไพล์ “แบบมีหัวต

ตอกเสาเข็มสปัน MICROPILE ชิดกับโครงสร้างที่มีกระจก
ตอกเสาเข็มสปัน MICROPILE ชิดกับโครงสร้างที่มีกระจก เสาเข็มสปัน Micropile สามารถตอกห่างจากโครงสร้างได้ 50 cm. เนื่อจากการตอกเสาเข็มสปัน Micropile ใช้ตุ้มน้ำหนักขนาดเล็กในการตอก จึงทำให้แรงสั่นสะเทือนต่ำ ไม่เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างเดิม เสาเข็มสปัน Micropile มอก. แบบมีหัวต่อหน้าเพลท ขนาด Dai 20 cm รับน้ำหนักได้ 20-25 ตันต่อต้น เสาเข็มสปัน Micropile มอก. แบบมีหัวต่อหน้าเพลท ขนาด Dai 24 cm รับน้ำหนักได้ 35-40 ตันต่อต้น

ตอกเสาเข็มพื้นที่แคบ
ตอกเสาเข็มพื้นที่แคบ สปันไมโครไพล์ เหมาะสำหรับ ผู้ที่ต้องการตอกเสาเข็มในพื้นที่คับแคบ แต่ไม่อยากใช้เข็มสั้น ต้องการป้องกันการทรุดตัวของฐานราก ซึ่งเสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกได้ถึงชั้นดินดาน รับน้ำหนักได้ 20-40 ตันต่อต้น และทางเข้าคับแคบก็ไม่เป็นปัญหาเนื่องจากเครื่องจักรสามารถรื้อประกอบได้

จากรอยร้าวเล็กๆในบ้านคุณ
จากรอยร้าวเล็กๆในบ้านคุณ เคยพบเจอปัญหาแบบนี้กันบ้างหรือไม่คะ ? บ้านแสนอบอุ่นที่คุณอยู่ร่วมกันกับครอบครัวของคุณอย่างมีความสุข อยู่มาวันหนึ่งก็มีรอยร้าวเล็กๆ บางๆ พาดเป็นแนวตามผนังปูนฉาบ แรกๆ คุณก็ไม่ได้รู้สึกตกอกตกใจอะไร เพราะคุณก็เคยรู้มาก่อนอยู่แล้วว่า การก่ออิฐฉาบปูนทั่วไป ถ้าช่างปูนฝีมือไม่ได้มาตรฐานตีน้ำขณะฉาบปูนไม่เพียงพอ ผนังปูนฉาบก็จะสูญเสียน้ำอย่างรวดเร็ว เมื่อปูนแข็งตัวแล้วก็จะเกิดรอยร้าวเล็กๆขึ้น ภาษาวิชาการเรียกว่าการแตกร้าว เนื่องจากการหดตัวของปูนฉาบ (Shrinkage Crack) แต่พออยู่ไปนาน

ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการใช้เสาเข็มที่ไม่มีคุณภาพ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการใช้เสาเข็มที่ไม่มีคุณภาพ วันนี้แอดมินนำภาพ “ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการใช้เสาเข็มที่ไม่มีคุณภาพ” มาให้ทุกท่านได้ชมกันค่ะ โดยภาพเหล่านี้ เป็นภาพฐานรากที่เสียหายบ้านลูกค้าที่ติดต่อเข้ามาให้เราเข้าไปทำการแก้ไขการทรุดตัวค่ะ เสาเข็มเมื่อตอกลงไปในดินแล้ว ยากที่จะตรวจสอบคุณภาพได้ หรือทำได้ก็จะยุ่งยากมาก เช่น การทำ Seismic Test (ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม) หรือ Pile load Test (ทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม) ซึ่งก็จะเป็นการสุ่มตัวอย่างเท่านั้น ดังนั้น R